รายนามพระยายืนชิงช้า

สมัยรัชกาลที่ ๕

๑) พ.ศ. ๒๔๑๑ พระยาสีหราชเดโชชัย ( พิณ )
๒) พ.ศ. ๒๔๑๒ พระยาสีหราชฤทธิไกร ( บัว รัตโนบล )
๓) พ.ศ.๒๔๑๓ พระยาราชสุภาวดี ( เพ็ง เพ็ญกุล ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยามหินทรศักดิธำรง
๔) พ.ศ. ๒๔๑๔ พระยามหาอมาตยาธิบดี ( มั่ง สนธิรัตน์ ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี
๕) พ.ศ. ๒๔๑๕ พระยามหาอำมาตยาธิบดี( ชื่น กัลยาณมิตร )
๖) พ.ศ. ๒๔๑๖ พระยาธรรมสารนิติ ( พลับ อมาตยกุล )
๗) พ.ศ.๒๔๑๗ พระยาราชวรานุกูล ( บุญรอด กัลยาณมิตร ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาพลเทพ และเป็นเจ้าพระยารัตนบดินทร์
๘) พ.ศ. ๒๔๑๘ พระยากระษาปณกิจโกศล ( โหมด อมาตยกุล )
๙) พ.ศ. ๒๔๑๙ พระยาศรีสหเทพ ( หรุ่น ศรีเพ็ญ ) ภายหลังเป็น พระยามหาอำมาตยาธิบดี
๑๐) พ.ศ. ๒๔๒๐ พระยาโชฎึกราชเศรษฐี ( พุก โชติกพุกกณะ )
๑๑) พ.ศ. ๒๔๒๑ พระยาจ่าแสนย์บดี ( เดช )
๑๒) พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียร ( เผือก เศวตนันท์ )
๑๓) พ.ศ. ๒๔๒๓ พระยานานาพิพิธภาษี ( โต บุนนาค )
๑๔) พ.ศ. ๒๔๒๔ พระยารัตนโกษา ( จีน จารุจินดา ) ภายหลังเป็นพระยาเพชรพิชัย
๑๕) พ.ศ. ๒๔๒๕ พระยาราชวรานุกูล ( เวก บุณยรัตพันธ์ ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช
๑๖) พ.ศ. ๒๔๒๖ พระยาโชฎึกราชเศรษฐี ( เถียร โชฏิกเสถียร )
๑๗) พ.ศ.๒๔๒๗ พระยามนตรีสุริยวงศ์ ( ชื่น บุนนาค )
๑๘) พ.ศ. ๒๔๒๘ พระยาอนุชิตชาญชัย ( พึ่ง สุวรรณทัต )
๑๙) พ.ศ. ๒๔๒๙ พระยามณเฑียรบาล ( คง สโรบล )
๒๐) พ.ศ. ๒๔๓๐ พระยาธรรนสารนิติ ( ตาด อมาตยกุล )
๒๑) พ.ศ. ๒๔๓๑ พระยาเกษตรรักษา ( นิล กมลานนท์ )
๒๒) พ.ศ. ๒๔๓๒ พระยาอิศรานุภาพ ( เอี่ยม บุนนาค )
๒๓) พ.ศ. ๒๔๓๓ พระยามหามนตรี ( เวก ยมาภัย ) ภายหลังเป็นพระยาอภัยรณฤทธิ์
๒๔) พ.ศ. ๒๔๓๔ พระยาพระยาสีหราชเดโชชัย ( โต บุนนาค ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์
๒๕) พ.ศ. ๒๔๓๕ พระยาพิชัยบุรินทรา ( ฉ่ำ บุนนาค ) ภายหลังเป็นพระยากลาโหมราชเสนา
๒๖) พ.ศ. ๒๔๓๖ พระยาไกรโกษา ( เทศ ภูมิรัตน์ )
๒๗) พ.ศ. ๒๔๓๗ พระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ( ม.ร.ว. หลาน กุญชร ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์
๒๘) พ.ศ. ๒๔๓๘ พระยาวุฒิการบดี ( ม.ร.ว. คลี่ สุทัศน์ ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร
๒๙) พ.ศ. ๒๔๓๙ พระยาราชวรานุกูล ( อ่วม )
๓๐) พ.ศ. ๒๔๔๐ พระยาศรีพิพัฒน์ ( หงษ์ สุจริตกุล ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาศิริรัตน์มนตรี
๓๑) พ.ศ. ๒๔๔๑ พระยาเพชรพิชัย ( สิงโต )
๓๒) พ.ศ. ๒๔๔๒พระยาอนุชิตชาญชัย ( ทองคำ สีหอุไร ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาสีหราชฤทธิไกร
๓๓) พ.ศ. ๒๔๔๓ พระยาศรีสหเทพ ( เส็ง วิริยสิริ ) ภายหลังเป็นพระยามหาอมาตยาธิบดี
๓๔) พ.ศ. ๒๔๔๔ พระยาทิพยโกษา ( หมาโต โชติกเสถียร )
๓๕) พ.ศ. ๒๔๔๕ พระยาอภัยรณฤทธิ์ ( บุตร บุณยรัตพันธ์ )
๓๖) พ.ศ. ๒๔๔๖ พระยาเทพอรชุน ( เจ๊ก จารุจินดา )
๓๗) พ.ศ. ๒๔๔๗ พระยาอนุชิตชาญชัย ( สาย สิงหเสนี )
๓๘) พ.ศ. ๒๔๔๘ พระยาประสิทธิ์ศัลยการ ( สะอาด สิงหเสนี ) ภายหลังเป็นพระยาสิงหเสนี
๓๙) พ.ศ. ๒๔๔๙ พระยาบำเรอภักดิ์ ( เจิม อมาตยกุล ) ภายหลังเป็นพระยาเพชรพิชัย
๔๐) พ.ศ. ๒๔๕๐ พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง ( ม.ร.ว. ลบ สุทัศน์ ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร
๔๑) พ.ศ. ๒๔๕๑ พระยาสีหราชเดโชชัย ( ม.ร.ว. อรุณ ฉัตรกุล )ภายหลังเป็นเจ้าพระยาบดินทร์เดชานุชิต
๔๒) พ.ศ. ๒๔๕๒ พระยาวิสุทธิ์สุริยศักดิ์ ( ม.ร.ว. เปีย มาลากุล )ภายหลังเป็นเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี

สมัยรัชกาลที่ ๖

๑) พ.ศ. ๒๔๕๓ พระยาไพบูลย์สมบัติ ( เดช บุนนาค )
๒) พ.ศ. ๒๔๕๔ พระยารักษ์มหานิเวศน์ ( กระจ่าง บุรณศิริ )
๓) พ.ศ. ๒๔๕๕ พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียร ( ม.ร.ว. ปุ้ม มาลากุล ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี
๔) พ.ศ. ๒๔๕๖ พระยาเวียงในนฤบาล ( เจ๊ก เกตุทัต )
๕) พ.ศ. ๒๔๕๗ พระยาศรีวรุวงศ์ ( ม.ร.ว. จิตร สุทัศน์ )
๖) พ.ศ. ๒๔๕๘ พระยาราชนุกูล ( อวบ เปาโรหิตย์ )
๗) พ.ศ. ๒๔๕๙ พระยาอภัยรณฤทธิ์ ( เชย ยมาภัย ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยายมาภัยพงศ์พิพัฒน์
๘) พ.ศ. ๒๔๖๐ พระยาสีหราชเดโชชัย ( แย้ม ณ นคร ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต
๙) พ.ศ. ๒๔๖๑ พระยาวรพงศ์พิพัฒน์ ( ม.ร.ว. เย็น อิสรเสนา ) ภายหลังเป็นเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์
๑๐) พ.ศ. ๒๔๖๒ พระยาธรรมจรรยานุกูลมนตรี ( ทองดี โชติกเสถียร )
๑๑) พ.ศ. ๒๔๖๓ พระยาศรีธรรมาธิราช ( เจิม บุณยรัตพันธ์ )
๑๒) พ.ศ. ๒๔๖๕ พระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร ( ม.ร.ว. สิทธิ์ สุทัศน์ )
๑๓) พ.ศ.๒๔๖๖ พระยานรเนติบัญชากิจ ( ลัด เศรษฐบุตร )
๑๔) พ.ศ.๒๔๖๗ พระยาสุวรรณศิริ ( ทองดี สุวรรณศิริ )

สมัยรัชกาลที่ ๗

๑) พ.ศ. ๒๔๖๘ พระยาบำเรอบริรักษ์ ( สาย ณ มหาชัย )
๒) พ.ศ. ๒๔๖๙ พระยาบุรุษรัตน์ราชพัลลภ ( นพ ไกรฤกษ์ )
๓) พ.ศ. ๒๔๗๐ พระยาอิศรพัลลภ ( สนิท จารุจินดา )
๔) พ.ศ. ๒๔๗๑ พระยากลาโหมราชเสนา ( เล็ก ปาณิกบุตร )
๕) พ.ศ. ๒๔๗๒ พระยามโหส๔ศรีพิพัฒน์ ( เชิญ ปริญญานนท์ )
๖) พ.ศ. ๒๔๗๓ พระยาโชฎึกราชเศรษฐี ( ผ่อง โชติกพุกกณะ )
๗) พ.ศ. ๒๔๗๔ พระยาปฏิพัทธ์ภูบาล ( คอยู่เหล ณ นอง )
๘) พ.ศ. ๒๔๗๕ พระยาสุรวงศ์วิวัฒน์ ( เตี้ยม บุนนาค )
๙) พ.ศ. ๒๔๗๖ พระยาอมเรศสมบัติ ( ต่วน ศุวณิช )
๑๐) พ.ศ. ๒๔๗๗ พระยาชลมาร์คพิจารณ์ ( ม.ร.ว. พงศ์ สนิทวงศ์ )

เอกสารอ้างอิง

๑) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว , พระราชพิธีตรียัมพวาย – ตรีปวาย , พระยาชลมารคพิจารณ์ อธิบดีกรมชลประทาน พิมพ์เป็นอนุสรณ์เมื่อเป็นพระยายืนชิงช้า พ.ศ. ๒๔๗๗
๒) กรมพระยาดำรงราชานุภาพ , เรื่องตั้งเจ้าพระยากรุงรัตนโกสินทร์ อนุสรณ์หม่อมหลวงชูชาติ กำภู ๑๖ ธันวาคม ๒๕๑๒

แชร์

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on email
อีเมล์

หมวดหมู่

ได้รับความนิยม

ติดตามอัพเดทล่าสุด

สมัครรับจดหมายข่าวของเรา

ไม่มีสแปมการแจ้งเตือนเกี่ยวกับบทความใหม่ และ การอัปเดต.
ตามหมวดหมู่

บทความที่เกี่ยวข้อง

สารคดีเล่าเรื่องผ่านเหรียญ

สารคดีเล่าเรื่องผ่านเหรียญ EP1 | เหรียญประชันอาวุธ วัดเบญจมบพิตร ร.ศ.๑๒๕ https://www.youtube.com/watch?v=gKf1rqiTXCg&list=PLseyPJqYT8qCaYHhzhvdMe-mu_7uJEj6R จากบันทึกของหม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุลได้บันทึกไว้ว่างานวัดเบญเป็นงานที่สนุกมากและเป็นที่เลื่องลือของชาวพระนครในเวลานั้นและในปี พ.ศ.2449 ได้มีการประชันศาสตราวุธต่างๆเช่น หอก ดาบ ง้าว ทวน กริช ปืน และขอช้าง เป็นต้น….”.เราจึงได้นำเกร็ดประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจและที่มาของเหรียญประชันอาวุธ วัดเบญจมบพิตร ร.ศ. ๑๒๕มา #เล่าเรื่องผ่านเหรียญ ให้ทุกคนได้ย้อนเวลากลับไปด้วยกันเพราะ #เหรียญที่ระลึกเปรียบเสมือนหลักกิโลทางประวัติศาสตร์

พ.ศ.๒๕๖๒ เหรียญบรมราชาภิเษกรัชกาลที่ ๑๐

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า   โดยที่เป็นการสมควรให้มีเหรียญเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยเหรียญเฉลิมพระเกียรติและเหรียญที่ระลึก พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาเหรียญเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

พ.ศ. ๒๕๖๒ เหรียญที่ระลึกพระราชพิธีสถาปนา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี

เหรียญเฉลิมพระเกียรติพระราชพิธีสถาปนา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี 4 พฤษภาคม 2562 ข้อมูลจำเพาะ ชนิดโลหะ เงิน ความบริสุทธิ์ 92.5% ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 32 มิลลิเมตร น้ำหนัก 23 กรัม (ผลิตไม่เกิน 300,000 เหรียญ)

พ.ศ.๒๔๑๓ (จ.ศ.๑๒๓๒) เหรียญที่ระลึกเหรียญแรกของรัชกาลที่๕ (ส พ ป ม จ ๕)

พ.ศ.๒๔๑๓ (จ.ศ.๑๒๓๒) เหรียญที่ระลึกเหรียญแรกของรัชกาลที่๕ (ส พ ป ม จ ๕) เหรียญ ส พ ป ม จ ๕ เป็นเหรียญรางวัลซึ่งพระราชทานแก่ผู้ที่แต่งซุ้มไฟประกวดในวัง เนื่องในการเฉลิมพระชนมพรรษาในปีพศ 2413 ซึ่งทรงมีพระชนมายุ 17 พรรษา เหรียญนี้จัดเป็นเหรียญที่ระลึกเหรียญแรกของรัชกาลที่๕ ตามประวัติกล่าวไว้ว่าทรงพระราชทานเป็นเนื้อกะไหล่ทอง เงินและทองแดง จำนวนที่โปรดเกล้าให้สร้าง ไม่มีหลักฐานชัดเจนว่ามีจำนวนเท่าใด