พ.ศ.๒๔๕๐ (ร.ศ.๑๒๖) เหรียญที่ระลึกงานศพเจ้าจอมมารดาทิพเกสร

พ.ศ.๒๔๕๐ เหรียญที่ระลึกงานศพเจ้าจอมมารดาทิพเกสร

พ.ศ.๒๔๕๐ ( ร.ศ.๑๒๖ ) เหรียญที่ระลึกงานศพเจ้าจอมมารดาทิพเกสร

เจ้าจอมมารดาเจ้าทิพเกสร เป็นเจ้าหญิงจากเชียงใหม่พระองค์แรกที่ไปเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อปี พ.ศ. 2426 ก็ได้ถวายตัวเป็นเจ้าจอม ซึ่งก่อนหน้าที่เจ้าหญิงทิพเกสร แห่งนครเชียงใหม่ เข้าถวายตัว ก็ได้ลงมาศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณี ของการอยู่ในพระราชสำนัก ของเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าจอมมารดาแพ) ทรงเป็นผู้อภิบาล และโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยานรรัตน์ราชมานิต (โต มานิตกุล) เป็นผู้อุปการะเป็นบุตรีบุญธรรม

เจ้าจอมเจ้าทิพเกสรเป็นเจ้าจอมเพียงพระองค์ ที่ถือว่า มาจากที่อื่น ในตอนนั้น ชาววังรู้จักล้านนา แต่เพียงว่า “ลาว” โดยที่ไม่รู้ว่า ล้านนา กับ ลาว นั้น แตกต่างกันอย่างไรบ้าง  เจ้าหญิงทิพเกสรนั้นเชื่อแน่ว่า ทรงได้รับการดูหมิ่นเหยียดยามจากบรรดาเจ้าจอมต่าง เมื่อเจ้าจอมเจ้าทิพเกสรประสูตร พระราชโอรส ในปี 2427 ด้วยเหตุที่มีสายพระโลหิตสัมพันธ์กับเจ้านายฝ่ายเหนือ พระองค์จึงได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระราชบิดาว่า “ดิลกนพรัตน์”

แชร์

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on email
อีเมล์

หมวดหมู่

ได้รับความนิยม

ติดตามอัพเดทล่าสุด

สมัครรับจดหมายข่าวของเรา

ไม่มีสแปมการแจ้งเตือนเกี่ยวกับบทความใหม่ และ การอัปเดต.
ตามหมวดหมู่

บทความที่เกี่ยวข้อง

สารคดีเล่าเรื่องผ่านเหรียญ

สารคดีเล่าเรื่องผ่านเหรียญ EP1 | เหรียญประชันอาวุธ วัดเบญจมบพิตร ร.ศ.๑๒๕ https://www.youtube.com/watch?v=gKf1rqiTXCg&list=PLseyPJqYT8qCaYHhzhvdMe-mu_7uJEj6R จากบันทึกของหม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุลได้บันทึกไว้ว่างานวัดเบญเป็นงานที่สนุกมากและเป็นที่เลื่องลือของชาวพระนครในเวลานั้นและในปี พ.ศ.2449 ได้มีการประชันศาสตราวุธต่างๆเช่น หอก ดาบ ง้าว ทวน กริช ปืน และขอช้าง เป็นต้น….”.เราจึงได้นำเกร็ดประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจและที่มาของเหรียญประชันอาวุธ วัดเบญจมบพิตร ร.ศ. ๑๒๕มา #เล่าเรื่องผ่านเหรียญ ให้ทุกคนได้ย้อนเวลากลับไปด้วยกันเพราะ #เหรียญที่ระลึกเปรียบเสมือนหลักกิโลทางประวัติศาสตร์

พ.ศ.๒๕๖๒ เหรียญบรมราชาภิเษกรัชกาลที่ ๑๐

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า   โดยที่เป็นการสมควรให้มีเหรียญเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยเหรียญเฉลิมพระเกียรติและเหรียญที่ระลึก พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาเหรียญเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

พ.ศ. ๒๕๖๒ เหรียญที่ระลึกพระราชพิธีสถาปนา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี

เหรียญเฉลิมพระเกียรติพระราชพิธีสถาปนา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี 4 พฤษภาคม 2562 ข้อมูลจำเพาะ ชนิดโลหะ เงิน ความบริสุทธิ์ 92.5% ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 32 มิลลิเมตร น้ำหนัก 23 กรัม (ผลิตไม่เกิน 300,000 เหรียญ)

พ.ศ.๒๔๑๓ (จ.ศ.๑๒๓๒) เหรียญที่ระลึกเหรียญแรกของรัชกาลที่๕ (ส พ ป ม จ ๕)

พ.ศ.๒๔๑๓ (จ.ศ.๑๒๓๒) เหรียญที่ระลึกเหรียญแรกของรัชกาลที่๕ (ส พ ป ม จ ๕) เหรียญ ส พ ป ม จ ๕ เป็นเหรียญรางวัลซึ่งพระราชทานแก่ผู้ที่แต่งซุ้มไฟประกวดในวัง เนื่องในการเฉลิมพระชนมพรรษาในปีพศ 2413 ซึ่งทรงมีพระชนมายุ 17 พรรษา เหรียญนี้จัดเป็นเหรียญที่ระลึกเหรียญแรกของรัชกาลที่๕ ตามประวัติกล่าวไว้ว่าทรงพระราชทานเป็นเนื้อกะไหล่ทอง เงินและทองแดง จำนวนที่โปรดเกล้าให้สร้าง ไม่มีหลักฐานชัดเจนว่ามีจำนวนเท่าใด